Abstract Blood
Lead Level in Normal Thai Population in Bangkok B.E.1994-1995
Sansrimahachai V*, Vattakavikrant
S*, Komindr A**.
*Department of
Research , Institue of Pathology , **Department of Pathology
, Rajavithi Hospital ,
Bangkok , Thailand.
Bull Dept Med Serv
1996 ; 21:215-219.
During
August 1994-August 1995, 608 blood samples totally from healthy
blood donors to the
blood
bank, Department of Pathology, Rajavithi Hospital, Department of
Medical Services, Ministry of Public Health ; the blood samples
were analysed for blood lead level using Graphite Furnace Atomic
Absorption Spectrometer. The results can be used for reference of
blood lead level in healthy Thai Population in Bangkok. This value
will be very helpful for good reference and health standard of routine
physical examination and a part of Laboratory Occupational Medicine
and also the coming analytical research for health standard of the
Thai people in all age groups. The means of blood lead level in
average whole blood samples, male and female were 7.11, 8.04 and
5.13 microgram per decilitre.
เรื่องย่อ การศึกษาระดับตะกั่วในเลือดคนไทยปกติซึ่งทั้งหมดเป็นเลือดที่บริจาคให้กับธนาคารเลือด
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ในช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2537 สิงหาคม พ.ศ. 2538 นำมาวิเคราะห์
608 ราย หลังจากการเตรียมตัวอย่าง ได้ตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่องมืออะตอมมิกแอบซอร์พชัน
สเปกโทรมิเตอร์ ชนิดกราไฟท์เฟอร์แนส ซึ่งสามารถวัดค่าได้ละเอียดและต่ำมาก
ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดทั้งหมดเท่ากับ 7.11 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดของเพศชายเท่ากับ 8.04 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดของเพศหญิงเท่ากับ 5.13 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้มีประโยชน์เพื่อเป็นมาตรฐานสุขภาพในการตรวจร่างกายประชาชนทั่วไปหรือผู้ที่จะเข้าทำงานอุตสาหกรรม
ซึ่งจะช่วยชี้บอกภายหลังว่าจะเกี่ยวข้องกับโรคจากการประกอบอาชีพหรือไม่
|
|
ABSTRACT
Lead in the
blood samples of 20 Thai children during October 1994 to September
1997
was analyzed by Graphite
Furnace Atomic bsorption Spectrophotometer of the Institute of Pathology.
The mean blood lead level was 5.55 microgram/decilitre (1.66-13.18
microgram/decilitre)
The blood lead levels ranged from 2.25 to 13.18 microgram/decilitre
(mean 7.67 microgram/decilitre)
in five children with pica. Six children, whose parents work in or
live near factories dealing with lead,
had the mean blood lead level 6.10 microgram/decilitre (range 2.38-10.12
microgram/decilitre). The
mean blood lead level was 3.64 microgram/decilitre (1.66-5.74 microgram/decilitre)
in eight children
who can not be diagnosed and a child with unknown history had blood
lead level of 7.05 microgram/
decilitre.
Blood Lead Level of Thai Children in Institute of Pathology
บทคัดย่อ
ในการตรวจวิเคราะห์หาตะกั่วในเลือดเด็กไทย
ซึ่งส่งมาที่สถาบันพยาธิวิทยาระหว่าง ตุลาคม 2537
ถึง กันยายน 2540 จำนวน 20 ราย ด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์
ชนิดกราไฟท์เฟอร์แนส พบว่าระดับตะกั่วในเลือดเด็กไทยทั้งหมดอยู่ในช่วง
1.66-13.18 ไมโครกรัม/
เดซิลิตร ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.55 ไมโครกรัม/เดซิลิตร กลุ่มเด็กที่ชอบรับประทานสิ่งที่ไม่ใช่อาหาร
(pica)
จำนวน 5 ราย มีระดับตะกั่วในเลือดอยู่ในช่วง 2.25-13.18 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.67
ไมโครกรัม/เดซิลิตร กลุ่มเด็กที่บิดามารดาทำงานในโรงงานหรือที่พักอาศัยอยู่ใกล้โรงงานที่เกี่ยวข้องกับ
สารตะกั่ว จำนวน 6 ราย ระดับตะกั่วในเลือดอยู่ในช่วง 2.38-10.12 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
6.10 ไมโครกรัม/เดซิลิตร กลุ่มเด็กซึ่งแพทย์ส่งตรวจด้วยสาเหตุที่ยังวินิจฉัยโรคไม่ได้
จำนวน 8 ราย
ระดับตะกั่วในเลือดอยู่ในช่วง 1.66-5.74 ไมโครกรัม/เดซิลิตร ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
3.64 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
และเด็กที่ไม่ทราบประวัติ จำนวน 1 ราย มีระดับตะกั่วในเลือด 7.05 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
|
|
Abstract
Blood Levels of Lead, Manganese and Cadmium in Normal Thai
Population in
Bangkok
(October 1996-September 1997)
Sansrimahachai
V, Vattakavikrant S.
Department of Research, Institute of Pathology, Bangkok, Thailand.
Bull Dept Med Serv 1998; 23:461-470.
The studies of lead, manganese, and cadmium levels in the blood
samples of 1,000 normal population during October 1996 to September
1997 by Graphite Furnace Atomic Absorption Spectrometer showed that
the average lead level was 5.20 microgram/decilitre. Statistically,
the average lead level in males was significantly higher than in
female (p<0.05). The average lead level was 6.04 microgram/decilitre
in male and 4.08 microgram/decilitre in female. The average manganese
level in the blood was 1.15 microgram/decilitre. The manganese level
in females was significantly higher than in males (p<0.05). The
average manganese level in males and females were 1.09 and 1.23
microgram/decilitre respectively. The studies also showed that the
average cadmium level in blood was 0.09 microgram/decilitre. But
the average cadmium level in males was statistically higher than
in females (p<0.05). The decrease of the lead in blood was attributable
to the reduction on environmental pollution campaign. The manganese
level in the blood did not exceed the permitted maximum level. Moreover,
the cadmium level in blood was just a little higher than normal
level. We suggest further study in manganese and cadmium levels.
The results of these studies will be useful for future planning
of environmental pollution control.
เรื่องย่อ
การศึกษาระดับตะกั่ว แมงกานีส แคดเมียม
ในเลือดคนไทยปกติเขตกรุงเทพมหานครระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2539 ถึง
เดือนกันยายน พ.ศ. 2540 จำนวน 1,000 ราย ด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรมิเตอร์
ชนิดกราไฟท์เฟอร์แนส พบว่า ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดทั้งหมดเท่ากับ
5.20 ไมโครกรัม/เดซิลิตร ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดของเพศชายสูงกว่าเพศหญิง
อย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดของเพศชายเท่ากับ 6.04 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วในเลือดของเพศหญิงเท่ากับ 4.08 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับแมงกานีสในเลือดทั้งหมดเท่ากับ 1.15 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับแมงกานีสในเลือดของเพศหญิงสูงกว่าเพศชาย และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p<0.05) ค่าเฉลี่ยระดับแมงกานีสในเลือดของเพศชายเท่ากับ 1.09 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับแมงกานีสในเลือดของเพศหญิงเท่ากับ 1.23 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับแคดเมียมในเลือดทั้งหมดเท่ากับ 0.09 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับแคดเมียมในเลือดของเพศชายสูงกว่าเพศหญิง และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p<0.05) ค่าเฉลี่ยระดับแคดเมียมในเลือดของเพศชายเท่ากับ 0.10 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ค่าเฉลี่ยระดับแคดเมียมในเลือดของเพศหญิงเท่ากับ 0.08 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ระดับตะกั่วในเลือดลดลงสอดคล้องกับการรณรงค์ลดมลพิษในสิ่งแวดล้อม ระดับแมงกานีสในเลือดไม่สูงเกินค่าสูงสุดที่อนุญาตให้มีได้ในเลือด
ส่วนระดับแคดเมียมในเลือดที่สูงกว่าค่าปกติมีเพียงเล็กน้อย ทั้งแมงกานีสและแคดเมียมควรติดตามศึกษาต่อไป
ซึ่งค่าระดับตะกั่ว แมงกานีส แคดเมียม ในเลือดจากการศึกษาครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนงานด้านมลพิษในสิ่งแวดล้อม
|
|
Abstract
Blood levels lead Cadmium and Manganese in Ischemic Stroke Patients
Sansrimahachai V*, Vattakavikrant S*, Hanchaiphiboolkul S**. Institute
of Pathology*, Prasat Neurological Institute **, Bangkok, Thailand.
Lead, cadmium and
manganese levels in blood were studied in 180 ischemic stroke patients
and a control group of 180 people by using atomic absorption spectrometer.
This research was conducted between October 2003 and September 2004,
and analyzed by using statistics that are percentage, mean, standard
deviation and unpaired student's t test with significant level <0.05.We
found that the average level of lead and manganese blood of ischemic
stroke patients were 5.03 and 0.60 microgram/decilitre, respectively.
Moreover, the mean level of cadmium in blood was 1.86 microgram/litre.
For the control group, the average lead and manganese levels in blood
were 4.60 and 0.48 microgram/decilitre, respectively. In addition,
the mean level of cadmium in blood was 1.79 microgram/litre. The average
level of lead and cadmium in blood between ischemic stroke patients
and the control group were not difference (p>0.05). On the other hand,
the mean level of manganese in blood between these two groups were
significant (p <0.05). Ischemic stroke patients were divided into
four groups according to their gender and smoking behavior. In a male
group, the average level of lead and cadmium between smokers and non-smokers
were significantly different (p<0.05), whereas the average level of
manganese was not (p>0.05). For the result of a female group, the
average level of lead and manganese between smokers and non-smokers
were not different (p>0.05), but the average level of cadmium was
significant (p<0.05). From our study, it can be concluded that the
lead and cadmium levels in blood is unlikely related to ischemic stroke,
while the effect of the manganese level in blood may lead to this
disease. Key words: Lead, Cadmium, Manganese, Blood, Ischemic stroke
Patients.
เรื่องย่อ
การศึกษาระดับตะกั่ว แคดเมียม แมงกานีส ในเลือดผู้ป่วยอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตัน
จำนวน 180 ราย และกลุ่มควบคุม จำนวน 180 ราย ระหว่างตุลาคม 2546 ถึง
กันยายน 2547 ด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรมิเตอร์ชนิดกราไฟท์เฟอร์แนส
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ จำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Unpaired student's t test กำหนดระดับความนัยสำคัญไว้ที่ <0.05 กลุ่มผู้ป่วยอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตันมีค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วและแมงกานีสเท่ากับ
5.03 และ 0.60 ไมโครกรัม/เดซิลิตร ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยระดับแคดเมียมเท่ากับ
1.86 ไมโครกรัม/ลิตร กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วและแมงกานีสเท่ากับ
4.60 และ0.48 ไมโครกรัม/เดซิลิตร ตามลำดับ ค่าเฉลี่ยระดับแคดเมียมเท่ากับ
1.79 ไมโครกรัม/ลิตร ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วและแคดเมียมในกลุ่มผู้ป่วยอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตันและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน
(p>0.05) ค่าเฉลี่ยระดับแมงกานีสในกลุ่มผู้ป่วยอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตันและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p<0.05)เมื่อเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตันชายที่ไม่สูบบุหรี่และสูบบุหรี่
ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วและแคดเมียมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
แต่ค่าเฉลี่ยระดับแมงกานีสไม่แตกต่างกัน (p>0.05) กลุ่มผู้ป่วยอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตันเพศหญิงไม่สูบบุหรี่และสูบบุหรี่ค่าเฉลี่ยระดับตะกั่วและแมงกานีสไม่แตกต่างกัน
(p>0.05) ค่าเฉลี่ยระดับแคดเมียมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
ระดับตะกั่วและแคดเมียมอาจไม่สัมพันธ์กับการเกิดอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตัน
ระดับแมงกานีสอาจเป็นส่วนร่วมให้เกิดอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตัน คำสำคัญ
: ตะกั่ว, แคดเมียม, แมงกานีส, เลือด, ผู้ป่วยอัมพาตชนิดเส้นเลือดอุดตัน
|
|
Abstract
เพ็ญศิริ ฮิมหมั่นงาน* และ กาญจนา สุจิรชาโต**
*สถาบันพยาธิวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ถนนราชวิถี เขตราชเทวี
กรุงเทพฯ 10400
**ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ
10400
บทคัดย่อ : ทำการตรวจหาชนิดของแอนติบอดีต่อ
HLA class I ในซีรั่มจำนวน 464 ตัวอย่าง จากหญิงไทยตั้งครรภ์ ที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลราชวิถี
โดยทดสอบกับลิมโพชัยต์ที่ทราบชนิดของ HLA -A, -B antigen จำนวน 60
ราย ด้วยวิธี microlymphopcytotoxicity ลิมโพชัยต์เหล่านั้นมี HLA
antigen ซึ่งครอบคลุม HLA -A, HLA -B antigen ที่พบบ่อยในคนไทย ซีรั่ม
36 ใน 464 ราย สามารถจำแนกชนิดของ HLA class I antibodies และให้ปฏิกิริยาแรง
(เซลล์ตาย 80-100%) มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (correlation coefficient
หรือ R-value) มากกว่า 0.7 สามารถใช้เป็น typing sera ได้ ในจำนวนนี้เป็น
monospecific HLA antibody 23 ราย มีความจำเพาะ 9 ชนิด ประกอบด้วย
anti-HLA -A2 9 ราย, anti-HLA -A24 2 ราย, anti-HLA -B7 4 ราย, anti-HLA
-B44 1 ราย, anti-HLA -B13 1 ราย, anti-HLA -B58 1 ราย, anti-HLA -B35
2 ราย, anti-HLA -B46 2 ราย และ anti-HLA -Bw6 1 ราย ส่วนอีก 10 ราย
เป็น multispecific HLA antibodies ประโยชน์ของการเตรียม HLA typing
sera ครั้งนี้ไม่เพียงแต่ใช้ตรวจหาชนิดของ HLA -A, -B antigen ที่จำเพาะเชื้อชาติเท่านั้นหากยังใช้ในการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ
HLA กับการเกิดโรคในคนไทยและเป็นแนวทางนำไปสู่การตรวจด้วยวิธี HLA
DNA typing ต่อไปด้วย อย่างไรก็ตามชนิดของ HLA antibody ที่ได้ ยังไม่ครอบคลุม
HLA specificity ทั้งหมดที่พบในคนไทย จำเป็นต้องสั่งซื้อ HLA antibody
เพิ่ม เพื่อใช้ในการเตรียม HLA -A, -B typing tray ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ขึ้น
Key Words : Anti-sera for HLA -A and HLA -B Thais วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์บริการโลหิต
2543;10:41-9.
|
|
Abstract
เพ็ญศิริ ฮิมหมั่นงาน*
อ้อยทิพย์ ณ ถลาง**
รัชนีวรรณ มณีมาโรจน์**
ไชยา สุขขา***
*สถาบันพยาธิวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ถนนราชวิถี เขตราชเทวี
กรุงเทพฯ 10400
**ภาควิชาพยาธิวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า ***หน่วยไต โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
เรื่องย่อ ซีรั่มจำนวน
290 ราย จากหญิงไทยตั้งครรภ์อายุระหว่าง 17-44 ปี (X?SD = 28.1?5.4)
ที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลราชวิถี นำมาตรวจกรองหาชนิดของ HLA class
I antibodies ด้วยวิธีมาตรฐาน microlymphocytoxicity โดยใช้ลิมโฟชัยต์ที่ทราบชนิดของแอนติเจน
ซึ่งจะครอบคลุม HLA-A, HLA-B และ HLA-C ที่พบบ่อย จำนวน 30 ราย นำมาใช้เป็น
panel cell ในการตรวจ ผลการตรวจ พบ HLA antibodies 38 ราย ใน 290 ราย
(ร้อยละ 13.10) ซีรั่ม 14 ราย มี monospecific antibodies ประกอบด้วย
HLA-A2 6 ราย HLA-A24 1 ราย HLA-B13 1 ราย HLA-B5 1 ราย และ HLA-BW4
3 ราย HLA-A2 เป็นแอนติบอดีที่พบบ่อยคือร้อยละ 2.4 17 ราย มี multispecific
antibodies, 7 ราย ไม่สามารถแยกชนิดของแอนติบอดี ซีรั่มที่มีแอนติบอดีที่จำแนกชนิดได้
มีค่าสัมประสิทธิ์ของสหสัมพันธ์ (correlation coefficient หรือ r-value)
มากกว่า 0.8 (ร้อยละ 5.5) สามารถจะนำมาใช้เป็นซีรั่มในการตรวจหาชนิดของ
HLA และแลกเปลี่ยนกับห้องปฏิบัติการอื่น ๆ ได้ การตรวจกรองหา HLA-class
I antibodies ในหญิงตั้งครรภ์เป็นวิธีที่สะดวกได้แอนติบอดีหลายชนิด
สามารถเก็บไว้ใช้เป็นแอนติซีรั่มในการตรวจหาชนิดของ HLA class I ต่อไปได้เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายสำหรับห้องปฏิบัติการ
HLA ที่เริ่มงานใหม่ด้วยงบประมาณจำกัด
|
|
Abstract
เพ็ญศิริ ฮิมหมั่นงาน*
กาญจนา สุจิรชาโต**
*สถาบันพยาธิวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ถนนราชวิถี เขตราชเทวี
กรุงเทพฯ 10400
**ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ
10400
บทคัดย่อ คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษา
HLA-A และ HLA-B แอนติเจน ในประชากรไทยในเขตกรุงเทพ-มหานคร จำนวน 109
ราย โดยใช้เทคนิคมาตรฐานวิธี micro-lymphocytotoxicity พบว่า HLA-A 16
ชนิด และ HLA-B 27 ชนิด แอนติเจนที่พบมาก (common antigen) ได้แก่ HLA-A2,
A11.1, A24, A33 และ HLA-B 60 split of HLA-B40, HLA-B62 split of HLA-B15,
B46 และ B44 แอนติเจน ที่พบมากที่สุดในประชากรกลุ่มนี้ คือ HLA-A11.1
(43.12%) และ HLA-B 60 split of HLA-B40 (19.27%) Gene frequencies (%GF)
ของประชากรไทยในเขตกรุงเทพมหานครกับไทย และปัจจุบัน ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
HLA-A2 และ HLA-A33 gene frequencies ในประชากรเขตกรุงเทพมหานคร เมื่อเปรียบเทียบกับประชากรไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) อย่างไรก็ตามประชากรไทยในเขตกรุงเทพมหานครมีแอนติเจนที่ครอบคลุมชนิดของแอนติเจนที่พบบ่อยในประชากรไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือและสามารถนำมาใช้เป็น
Panel cells สำหรับ HLA-A, and B typing sera ในโรค ใหตายได้
|
|
Abstract P.Himmungnan*, S.Sangwattanaroj**
*Pathology of Institute, Rajathavee, Bankgok 10400.
**Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand
Sudden Unexplained Death Syndrome (SUDS or Lai-Tai), a suddenly unexpected death during sleep in previously healthy young adults with no structural cause of death. Most victims lived in Northeastern Thailand. Some of the victims' relatives died in the same manner. A genetic basis for SUDS has thus been proposed. We carried out a study of HLA-DRB and HLA-DQB haplotypes in SUDS family to search for the haplotype transmission.
Using Polymerase Chain Reaction-Sequence Specific Oligonucleotide typing (PCR-SSO), we have detected the composition of HLA-DRB and DQB haplotypes, presents in two SUDS families (with 4 presumptive SUDS victims). The first family 10 relative, mean age of 43.5 years had 4 HLA-DRB and HLA-DQB haplotypes patterns; HLA-DRB1*090.12, DRB4*0101/03/04/05, DQB1*03032/033 in 6 relatives with Brugada Sign (BS) of 16.7%, HLA-DRB1*1502/08, DRB5*0102/08N, DQB1*06011/013 in 2 relatives with BS of 0%, HLA-DRB1*1501/09, DRB5*01011, DQB1*06011/013, and HLA-DRB1*12021, DRB3*0301, DQB1*0502 in 6 relatives with BS of 33%, HLA-DRB1*1404, DRB3*0207, DQB1*05031 in 4 relatives with BS of 25%, HLA-DRB1/1502/08, DRB*50102/08N, DQB1*06011/013 with BS of 33%, and HLA-DRB1*09012, DRB4*0101/03/04/05, DQB1*03032/033 in 1 relative with BS of 50%.
It is interesting that two SUDS families provided both HLA-DRB1*09012, DRB4*0101/03/04/05, DQB1*03032/033 and HLA-DRB1*1501/09, DRB5*01011, DQB1*06011/013 in 2 cases; one presumptive SUDS victim in the first family possibly carried those haplotypes (from the family tree) as same as one relative with BS in the second family. However, more suspected high-risk groups (BS groups) are required to elucidate the mode of remarkable haplotype transmission or inheritance in SUDS because not all the living relatives' haplotypes are demonstrated.
|
|
|